nassocal.org

หมวดที่ 7 การจัดการของเสีย

หมวดที่ 7 การจัดการของเสีย

22 กุมภาพันธ์ 2567 (ผู้ดูแลระบบ) ผลการดำเนินงานตามเกณฑ์มาตรฐานห้องสมุดสีเขียว 2567
ห้องสมุดสีเขียวจะต้องจัดการขยะ และจัดการน้ำเสีย เป็นไปตามมาตรฐานที่กฏหมายกำหนด ดังนี้
        7.1. มีการจัดการขยะ ทำการคัดแยก และลดปริมาณขยะ
        7.2. มีการจัดการน้ำเสีย โดยคุณภาพน้ำทิ้งจะต้องเป็นไปตามกฏหมายที่เกี่ยวข้อง

หัวข้อ ผลการดำเนินงาน ไฟล์หลักฐาน

7.1.1 มีการดำเนินงานตามแนว ทางการคัดแยก รวบรวม และกำจัด ขยะอย่างเหมาะสม มีแนวทางการ ดำเนินงาน ดังนี้
        (1) มีการคัดแยกขยะตามประเภทขยะที่ เกิดขึ้นจากกิจกรรมภายในสำนักงาน และจัดวางถังขยะตามพื้นที่ทำงานต่างๆ อย่างเหมาะสมทุกจุดที่สุ่มตรวจสอบ
        (2) มีการติดป้ายบ่งชี้ประเภทขยะอย่าง ถูกต้องและชัดเจนทุกถังที่สุ่ม ตรวจสอบ
        (3) มีจุดพักขยะที่เหมาะสมตามหลัก วิชาการ โดยจะต้องมีพื้นที่รองรับขยะแต่ละประเภทจากข้อ (1) อย่าง เพียงพอ
        (4) มีการทิ้งขยะถูกต้องทุกจุดที่สุ่ม ตรวจสอบ
        (5) มีการส่งขยะให้ อปท. หรือผู้รับจ้างที่ ได้รับอนุญาตตามกฎหมาย
        (6) มีการติดตาม ตรวจสอบการกำจัด ขยะของผู้รับจ้างให้มีการจัดการ อย่างเหมาะสมตามหลักวิชาการ (กรณีส่งให้ อปท.ให้ถือว่ามีการ จัดการอย่างเหมาะสม)
        (7) ไม่มีการเผาขยะในบริเวณหรือพื้นที่ ของสำนักงาน (ยกเว้นเตาเผาที่ได้รับ การอนุญาตอย่างถูกต้อง)

 

ศูนย์บรรณสารสนเทศ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีความร่วมมือกับห้องสมุดอื่น ๆ
หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ในการจัดการความรู้หรือมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
ในเรื่องการบริหารจัดการและการให้บริการของห้องสมุดที่เกี่ยวข้อง
กับการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม
โดยสนับสนุนให้บุคลากรเข้าร่วมการประชุมวิชาการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
และดำเนินกิจกรรมด้านการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม ดังนี้
- อบรมเรื่องการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสำนักงานสีเขียว ใน
วันพุธ ที่ 19 เมษายน 2566 โดยชมรมห้องสมุดสีเขียว
เพื่อตรวจประเมินและให้การรับรองสำนักงานที่มีการดำเนินการที่เป็
นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและยังส่งเสริมให้สำนักงานนำความรู้สำนักงาน
สีเขียวไปประยุกต์ให้เกิดประโยชน์
มีการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในสำนักงาน
และเพื่อลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก จากกิจกรรมต่าง ๆ
ภายในสำนักงาน ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้
และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับเกณฑ์การตรวจประเมินสำนักงานสีเขี
ยว และยังเป็นแนวทางการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ภายในสำนักงาน
ตลอดจนสร้างความตระหนักถึงวัฒนธรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม…ปี 2566…
-
อบรมเรื่องการบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืนท่ามกลางวิกฤติสร้างจิต
สำนึกด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม ในวันพุธ ที่ 31 พฤษภาคม
2566 จัดโดย สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิทยากรโดย คุณพงค์พัฒน์ มั่งคั่ง กรรมการผู้จัดการ
บริษัทอินโนเวชั่น เทคโนโลยี จํากัด
อดีตผู้อํานวยการสํานักพัฒนาทรัพยากรบุคคลด้านพลังงาน
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน
…ปี 2566…
- การบรรยายทางด้านสิ่งแวดล้อมเรื่อง
“ก้าวใหม่ของมาตรฐานและเกณฑ์การประเมิ
นห้องสมุดสีเขียว พ.ศ 2566” ในโครงการ
Green Library Fair 2023 ในวันอังคาร ที่
22 สิงหาคม 2566 โดย
ดร.อารีย์ ธัญกิจจานุกิจ
ประธานคณะกรรมการบริหารชมรมห้องสมุ
ดสีเขียว
ได้ปรับปรุงมาตรฐานห้องสมุดสีเขียว พ.ศ.2558 และเกณฑ์การประเมินห้องสมุดสีเขียว
พ.ศ. 2559 ให้เป็นปัจจุบัน
เสนอสมาคมห้องสมุดฯ
ประกาศใช้สำหรับการตรวจประเมินสำนักงา
นสีเขียวตั้งแต่ปี 2567 เป็นต้นไป
โดยนำเกณฑ์การประเมินสำนักงานสีเขียว
มาใช้เป็นเกณฑ์การประเมินด้านทรัพยากรแ
ละสิ่งแวดล้อม …ปี
2566…ทีมศูนย์บรรณสารสนเทศ (ห้องสมุด)
ได้ดำเนินการจัดโครงการพัฒนามหาวิทยาลั
ยสีเขียวสู่ความยั่งยืน -
โดยได้เดินทางไปศึกษาและเรียนรู้การทำ
ฟาร์มออร์แกนิค และร่วมทำกิจกรรม
“น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพและดอกไม้กินได้”
ณ Rganic farm อาร์แกนิค ฟาร์ม จ.ยะลา
และทั้งนี้ทางทีมศูนย์บรรณสารสนเทศ (ห้องสมุด)
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ร่วมกับอุทยานแห่งชาติอ่าวมะนาว จ.นราธิวาสได้ดำเนินการจัดโครงการพัฒนามหาวิทยาลัยสีเขียวสู่ความยั่งยืน -
จัดกิจกรรมมุมหนังสือเกี่ยวกับพลังงานและสิ่งแวดล้อม (ECO
Corner) และกิจกรรมขยะแลกผัก …ปี 2566…

7.1.1
อบรมเรื่องการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสำนักงาน
สีเขียว วันพุธ ที่ 19 เมษายน 2566
โดยชมรมห้องสมุดสีเขียว …ปี 2566…

 

7.1.2
อบรมเรื่องการบริหารจัดการเพื่อความยั่งยืนท่ามกลางวิ
กฤติสร้างจิตสำนึกด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม วันพุธ ที่
31 พฤษภาคม 2566 โดย ชมรมห้องสมุดสีเขียว
…ปี 2566…

 

7.1.3 การบรรยายทางด้านสิ่งแวดล้อมเรื่อง
“ก้าวใหม่ของมาตรฐานและเกณฑ์การประเมิน

ห้องสมุดสีเขียว พ.ศ2566” ในโครงการ Green
Library Fair 2023 วันที่ 22 สิงหาคม 2566
โดยประธานคณะกรรมการบริหารห้
องสมุดสีเขียว …ปี 2566…

 

7.1.4 ทีมศูนย์บรรณสารสนเทศ
ได้ดำเนินการจัดโครงการพัฒนามห
าวิทยาลัยสีเขียวสู่ความยั่งยืน
ได้เดินทางไปศึกษาและเรียนรู้การ
ทำ ฟาร์มออร์แกนิคและร่วมทำกิจกรรม
“น้ำสมุนไพรเพื่อสุขภาพและดอกไม้
กินได้” ณ Rganic farm อาร์แกนิค
ฟาร์ม จ.ยะลา…ปี 2566…


7.1.5 ทีมศูนย์บรรณสารสนเทศ (ห้องสมุด)
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
ร่วมกับอุทยานแห่งชาติอ่าวมะนาว จ.นราธิวาส
ได้ดำเนินการจัดโครงการพัฒนามหาวิทยาลัยสีเขียวสู่ความยั่งยืน
จัดกิจกรรมมุมหนังสือเกี่ยวกับพลังงานและสิ่งแวดล้อม
(ECO Corner) และกิจกรรมขยะแลกผัก
สารสนเทศและชุมชน …ปี 2566…

7.1.2 การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ หรือนำกลับมาใช้ใหม่ส่งผลให้ขยะที่จะส่งไปกำจัดมีปริมาณน้อยลง
        (1) มีการนำขยะกลับมาใช้ใหม่
        (2) มีการบันทึกข้อมูลปริมาณขยะแต่ละ ประเภทครบถ้วนทุกเดือน
        (3) มีการวิเคราะห์ปริมาณขยะเทียบค่า เป้าหมายที่ได้กำหนดจากหมวด 1 ข้อ 1.1.5
        (4) ปริมาณขยะที่ส่งกำจัดมีแนวโน้ม ลดลง
 
คำอธิบาย
        (1) การนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ หรือนำกลับมาใช้ใหม่ หมายถึง การนำขยะทุกประเภทที่สามารถนำ กลับมาใช้ใหม่หรือสามารถสร้างประโยชน์ได้ ส่งผลต่อการลดภาระต่อสิ่งแวดล้อมโดยการฝังกลบหรือ เผาทำลายในเตาเผา เป็นต้น
        (2) ร้อยละของปริมาณขยะที่นำกลับมาใช้ใหม่  =   (ปริมาณขยะที่นำกลับมาใช้ใหม่สะสม x 100) / ปริมาณขยะทั้งหมดสะสม
        (3) ร้อยละของปริมาณขยะทั่วไป = (ปริมาณขยะทั่วไปสะสม x 100) / ปริมาณขยะทั้งหมดสะสม
        (4) นวัตกรรม หมายถึง การทำสิ่งต่างๆ ด้วยวิธีใหม่ๆ เช่น การเปลี่ยนแปลงทางความคิด กระบวนการ ทำงาน หรือเทคโนโลยี เพื่อนำไปสู่การพัฒนาต่อยอด
   
7.2.1 การจัดการน้ำเสียของสำนักงาน และคุณภาพน้ำทิ้งจะต้องอยู่ใน มาตรฐานกฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยมีแนวทาง ดังนี้
        (1) การกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลการ จัดการน้ำเสีย และจะต้องมีความรู้ความเข้าใจในการดูแล
        (2) มีการบำบัดน้ำเสียอย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ เช่น มีตะแกรงดักเศษอาหาร มีบ่อดักไขมัน หรือมีระบบบำบัดน้ำเสียเหมาะสมกับ องค์ประกอบของน้ำเสีย
        (3) มีการบำบัดน้ำเสียครบทุกจุดที่ปล่อยน้ำเสีย
        (4) มีผลการตรวจสอบคุณภาพน้ำทิ้งที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด
 
คำอธิบาย การบำบัดน้ำเสียครบทุกจุดที่ปล่อยน้ำเสีย หมายถึง การบำบัดน้ำเสียทุกจุดก่อนปล่อยออกสู่สาธารณะ
   
7.2.2 การดูแลอุปกรณ์บำบัดน้ำเสีย โดยมีแนวทางดังนี้
        (1) มีการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย หรือมี การตักและทำความสะอาดเศษ อาหาร และไขมันออกจากตะแกรง ดักขยะ หรือบ่อดักไขมัน ตามความถี่ ที่กำหนดอย่างเหมาะสมกับปริมาณ และการปนเปื้อน
        (2) มีการนำกากตะกอนจากระบบบำบัด น้ำเสีย หรือเศษอาหาร น้ำมันและ ไขมันจากถัง/บ่อดักไขมันไปกำจัด อย่างถูกต้อง
        (3) มีการตรวจสอบ ปรับปรุง ซ่อมแซม ระบบบำบัดน้ำเสียให้สามารถใช้งาน และมีประสิทธิภาพอยู่เสมอ
        (4) มีการตรวจสอบการรั่วไหลของน้ำเสีย อย่างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันการ ปนเปื้อนของน้ำเสียไปยังแหล่งอื่นๆ